บทความวิจัย/ วิชาการ ของบุคลากรและนักศึกษาที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ด้านศิลปะและวัฒนธรรม
แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. ศิวาพร พยัคฆนันท์, อัครเดช สุพรรณฝ่าย, พรรณนิการ์ กงจักร, พุฒิพงษ์ รับจันทร์, อาภาพร บุญประสพ และรุจิเรศ รุ่งสว่าง. (2564). การพัฒนาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวชุมชนผ้าไหมทอมือ ตำบลสวาย อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์. วารสารธรรมศาสตร์, 40(2) พฤษภาคม – สิงหาคม 2564, 130 – 156. (อ่านบทความ)
2. สุภาสินี วิเชียร. (2564). การพัฒนาคลังความรู้ภูมิปัญญาคชศาสตร์ชาวกูยในจังหวัดสุรินทร์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 15(1) มกราคม – เมษายน 2564, 42 – 53. (อ่านบทความ)
3. จันจิรา เซี่ยงฉิน และ นิตยา เรืองสุวรรณ. (2564). การศึกษารูปแบบการเปลี่ยนแปลงด้านที่มาของคำยืมภาษาเขมรในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. วารสารราชพฤกษ์, 19(2) พฤษภาคม – สิงหาคม 2564, 34 – 44. (อ่านบทความ)
4. ยุวดี พลศิริ และ กฤติกา ธรรมวิเศษ. (2564). กระบวนการสืบทอดของคูบาในพิธีกรรมแถน สู่การสร้างสรรค์นาฏศิลป์ร่วมสมัย. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปกรรมวิจัย” ประจำปี 2564. วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2564. หน้า 654 – 666. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อ่านบทความ)
5. อลงกต เพชรศรีสุข, จุฑานก เพชรศรีสุข, สนทยา หยวกจังหรีด. (2564). งานปักเครื่องแต่งกายชาวกูยสู่การสร้างสรรค์กระเป๋าถือสำหรับสุภาพสตรี. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปกรรมวิจัย” ประจำปี 2564. วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2564. หน้า 343 – 360. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อ่านบทความ)
6. เกษราภรณ์ สุพรรณฝ่าย, นพดล มานุจำ, สายธาร มีสำโรง. (2564). ศิลปะประยุกต์บนผ้าบาติกจากอัตลักษณ์ชาติพันธุ์กูยในจังหวัดสุรินทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปกรรมวิจัย” ประจำปี 2564. วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2564. หน้า 33 – 47. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อ่านบทความ)
7. จิราวรรณ อยู่เกษม, ลดาวัลย์ ปัญตะยัง, ศรัณย์ ศิลาเณร, สำลี เรืองสุขสุด. (2564). การออกแบบผ้าไหมมัดหมี่ลายพนมดงรักจากอัตลักษณ์ของชุมชน. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปกรรมวิจัย” ประจำปี 2564. วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2564. หน้า 971 – 980. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อ่านบทความ)
8. กฤษฎา พิณศรี และ สนทยา มุลาลินน์. (2564). สุคตาลัย : ศิลปกรรมและความเชื่อในงานสถาปัตยกรรมสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่พบในภาคอีสาน. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปกรรมวิจัย” ประจำปี 2564. วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2564. หน้า 1165 – 1177. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อ่านบทความ)
9. ประฏิชญา สร้อยจิตร, สุกัญญา สมพร้อม, อรุณธิดา สีเชียงหา, โกสุม จันทร์แสงกระจ่าง. (2564). การศึกษาแนวคิดคณิตศาสตร์ผ่านการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ชาติพันธุ์ไทยเขมรบนลวดลายผ้าไหมโบราณสุรินทร์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 12”. วันที่ 16 – 17 กันยายน 2564. หน้า F256 – F270. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์. (อ่านบทความ)
10. พระชาตรี ชุมภู, วิจิตรา โพธิสาร, สุรีย์ฉาย สุคันธรัต. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าวัดอิสาณของพุทธศาสนิกชน จังหวัดบุรีรัมย์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 12”. วันที่ 16 – 17 กันยายน 2564. หน้า 744 – 754. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์. (อ่านบทความ)
1. ทัศนียา นิลฤทธิ์, วิจิตรา โพธิสาร, พีรวัส อินทวี, ศิรินทิพย์ พิศวง, นวัฒกร โพธิสาร. (2565). การออกแบบลวดลายผ้าไหมทอมือจากอัตลักษณ์ท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์สู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน. วารสารวิชาการศิลปวัฒนธรรมอีสาน, 3(1) มกราคม – มิถุนายน 2565 : 1 – 19. (อ่านบทความ)
2. ภชร รัมพณีนิล, อิทธิวัตร ศรีสมบัติ, ภัทระ อินทรกำแหง, ประทีป แขรัมย์. (2565). ภูมิปัญญาหัตถศิลป์พื้นบ้านในประเพณีชีวิตชาวไทยเขมรสุรินทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2565 “มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน”. วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2565. หน้า 637 – 645. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. (อ่านบทความ)
3. อิทธิวัตร ศรีสมบัติ, จักรี บำรุงภักดิ์. (2565). บุญข้าวเปลือกของชาวไทยเขมรบ้านโคกยาง จังหวัดสุรินทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2565 “มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน”. วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2565. หน้า 702 – 712. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. (อ่านบทความ)