ฐานข้อมูลบทความวิจัย/ วิชาการ
บทความวิจัย/ วิชาการ ของบุคลากรและนักศึกษาที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ด้านศิลปะและวัฒนธรรม
แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
1. ศิวาพร พยัคฆนันท์, อัครเดช สุพรรณฝ่าย, พรรณนิการ์ กงจักร, พุฒิพงษ์ รับจันทร์, อาภาพร บุญประสพ และรุจิเรศ รุ่งสว่าง. (2564). การพัฒนาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวชุมชนผ้าไหมทอมือ ตำบลสวาย อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์. วารสารธรรมศาสตร์, 40(2) พฤษภาคม – สิงหาคม 2564, 130 – 156. (อ่านบทความ)
2. สุภาสินี วิเชียร. (2564). การพัฒนาคลังความรู้ภูมิปัญญาคชศาสตร์ชาวกูยในจังหวัดสุรินทร์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 15(1) มกราคม – เมษายน 2564, 42 – 53. (อ่านบทความ)
3. จันจิรา เซี่ยงฉิน และ นิตยา เรืองสุวรรณ. (2564). การศึกษารูปแบบการเปลี่ยนแปลงด้านที่มาของคำยืมภาษาเขมรในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. วารสารราชพฤกษ์, 19(2) พฤษภาคม – สิงหาคม 2564, 34 – 44. (อ่านบทความ)
4. ยุวดี พลศิริ และ กฤติกา ธรรมวิเศษ. (2564). กระบวนการสืบทอดของคูบาในพิธีกรรมแถน สู่การสร้างสรรค์นาฏศิลป์ร่วมสมัย. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปกรรมวิจัย” ประจำปี 2564. วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2564. หน้า 654 – 666. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อ่านบทความ)
5. อลงกต เพชรศรีสุข, จุฑานก เพชรศรีสุข, สนทยา หยวกจังหรีด. (2564). งานปักเครื่องแต่งกายชาวกูยสู่การสร้างสรรค์กระเป๋าถือสำหรับสุภาพสตรี. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปกรรมวิจัย” ประจำปี 2564. วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2564. หน้า 343 – 360. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อ่านบทความ)
6. เกษราภรณ์ สุพรรณฝ่าย, นพดล มานุจำ, สายธาร มีสำโรง. (2564). ศิลปะประยุกต์บนผ้าบาติกจากอัตลักษณ์ชาติพันธุ์กูยในจังหวัดสุรินทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปกรรมวิจัย” ประจำปี 2564. วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2564. หน้า 33 – 47. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อ่านบทความ)
7. จิราวรรณ อยู่เกษม, ลดาวัลย์ ปัญตะยัง, ศรัณย์ ศิลาเณร, สำลี เรืองสุขสุด. (2564). การออกแบบผ้าไหมมัดหมี่ลายพนมดงรักจากอัตลักษณ์ของชุมชน. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปกรรมวิจัย” ประจำปี 2564. วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2564. หน้า 971 – 980. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อ่านบทความ)
8. กฤษฎา พิณศรี และ สนทยา มุลาลินน์. (2564). สุคตาลัย : ศิลปกรรมและความเชื่อในงานสถาปัตยกรรมสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่พบในภาคอีสาน. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ศิลปกรรมวิจัย” ประจำปี 2564. วันที่ 20 – 21 สิงหาคม 2564. หน้า 1165 – 1177. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (อ่านบทความ)
9. ประฏิชญา สร้อยจิตร, สุกัญญา สมพร้อม, อรุณธิดา สีเชียงหา, โกสุม จันทร์แสงกระจ่าง. (2564). การศึกษาแนวคิดคณิตศาสตร์ผ่านการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ชาติพันธุ์ไทยเขมรบนลวดลายผ้าไหมโบราณสุรินทร์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 12”. วันที่ 16 – 17 กันยายน 2564. หน้า F256 – F270. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์. (อ่านบทความ)
10. พระชาตรี ชุมภู, วิจิตรา โพธิสาร, สุรีย์ฉาย สุคันธรัต. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเข้าวัดอิสาณของพุทธศาสนิกชน จังหวัดบุรีรัมย์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 12”. วันที่ 16 – 17 กันยายน 2564. หน้า 744 – 754. สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์. (อ่านบทความ)
11. ทองพูล ขุมคำ พีรวัส อินทวี และพิพัฒน์ วิถี. (2564). การพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวบ้านขุนไชยทอง อำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ (Development of Tourism Promotion Innovation at Ban Khunchaithong, Chumphonburi District, Surin Province) วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา วารสารพุุทธศาสตร์ศึกษา ปีที่ 12 ฉบัับที่ 1 (มกราคม – มิถุุนายน) หน้า 114-131. (อ่านบทความ)
1. ทัศนียา นิลฤทธิ์, วิจิตรา โพธิสาร, พีรวัส อินทวี, ศิรินทิพย์ พิศวง, นวัฒกร โพธิสาร. (2565). การออกแบบลวดลายผ้าไหมทอมือจากอัตลักษณ์ท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์สู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน. วารสารวิชาการศิลปวัฒนธรรมอีสาน, 3(1) มกราคม – มิถุนายน 2565 : 1 – 19. (อ่านบทความ)
2. ภชร รัมพณีนิล, อิทธิวัตร ศรีสมบัติ, ภัทระ อินทรกำแหง, ประทีป แขรัมย์. (2565). ภูมิปัญญาหัตถศิลป์พื้นบ้านในประเพณีชีวิตชาวไทยเขมรสุรินทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2565 “มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน”. วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2565. หน้า 637 – 645. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. (อ่านบทความ)
3. อิทธิวัตร ศรีสมบัติ, จักรี บำรุงภักดิ์. (2565). บุญข้าวเปลือกของชาวไทยเขมรบ้านโคกยาง จังหวัดสุรินทร์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2565 “มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน”. วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2565. หน้า 702 – 712. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. (อ่านบทความ)
4.พิพัฒน์ วิถี พิทักษ์ แสนกล้า พีรวัส อินทวี ทองพูล ขุมคํา ธงไชย สุขแสวงและวิโรจน์ทองปลิว. (2565). บทบาทบุคลากรทีมศาสนพิธีในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (The Personnel Role of Religious Ceremony Team at Surindra Rajabhat University). วารสารศิลปะและวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำมูล ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม -มิถุนายน) หน้า 46-55.. (อ่านบทความ)
5.Assawin Nadee, Pannarai Khamsopar. (2565). KHLUN GRATHOP FANG ARRANGEMENT FOR THE MARCHING BAND. The Tenth National Symposium and the Fifth International SymposiumBangkokthonburi University “Creativity, Innovations, Social Order and Wellbeing in Times of COVID- 19 Pandemic (CISOWCOP)” หน้า 259.. (อ่านบทความ)
6.ณัชปภา โพธิ์พุ่ม, พระครูสาธุกิจโกศล พระวิชาร อาทโร และประดิษฐ์ ชื่นบาน. (2565). รูปแบบการพัฒนาตนในวิกฤติสถานการณ์โควิด-19 ตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในจังหวัดสุรินทร์ Self development model in the critical situation, Covid-19 according to the Buddhist moral code of peple in Surin Provice (อ่านบทความ)
7.ยโสธารา ศิริภาประภากร,ชัยนะรินทร์ ทับมะเริง, พระสำเริง โกวิโท (อินทยุง). (2565). การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการสอนศาสนาและวัฒนธรรม ในระดับประถมศึกษา โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน สำาหรับนักศึกษาสาขาการประถมศึกษา The Learning Development of Religion and Culture at theElementary Level by using the Research-based Learning for Learners of the Elementary Education Program. ระหว่างวันที่ 17-18 กุมภาพันธ์ 2565. หน้า C59-C77.. (อ่านบทความ)
8.ยโสธารา ศิริภาประภากร,พระสำเริง โกวิโท (อินทยุง) และชัยนะรินทร์ ทับมะเริง. (2565). คำสอนที่ปรากฏในประเพณีแซนโฎนตา กลุ่มชาวไทยเชื้อสายเขมรกรณี ศึกษาพื้นที่ บ้านตะโก ตำบลโคกย่าง อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ Teachings that Appear In the San Don ta Tradition group of Thai Khmer People Case Study of Ban Tako Area Khok Yang Sub-district Prakhon Chai District Buriram Province. ระหว่างวันที่ 17-18 กุมภาพันธ์ 2565. หน้า C59-C77.. (อ่านบทความ)
9. สุพัตรา วะยะลุน พงศกร พงษ์ปรีชา ศุภชัย งาหอม และศุภกิตติ์ หนองใหญ่. (2565). การพัฒนาระบบสารสนเทศพิพิธภัณฑ์พระพุทธรูปไม้โบราณ พระพรหมวชิรญาณ วัดอาม็อง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์. Information System Development for the Phra Phrom Wachirayan Museum of Ancient Wooden Buddha at Ah Mong Temple, Mueang Surin District, Surin Province วารสารศิลปะและวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำมูล ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม -มิถุนายน) หน้า 16-30.. (อ่านบทความ)
10.พีรวัส อินทวี สยาม ระโส1วนมพร พาหะนิชย์ ชัชวาล สนิทสันเทียะ และ วิจิตรา โพธิสาร. (2565). การศึกษาการรับรู้วัฒนธรรมอาหารพื้นเมืองจังหวัดสุรินทร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ Studying Perception of Surin Local Food Cultural of Students at Surindra Rajabhat University วารสารศิลปะและวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำมูล ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม -มิถุนายน) หน้า 1-14.. (อ่านบทความ)
11.กานต์ กาญจนพิมาย อรนุช แสงสุข คนึงนิตย์ อริยะธุกันต์ และ พีรวัสอินทวี. (2565). บทบาทตังเคากับการละเล่นเรือมตรุษในจังหวัดสุรินทร์ Roles of Tang Kao in Ruam Trot Traditional Play in Surin Province วารสารศิลปะและวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำมูล ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม -มิถุนายน) หน้า 24-34.. (อ่านบทความ)
12.วิพจน์ วันคํา เอกพงศ์ พัฒนากุล และ กานต์ กาญจนพิมาย. (2565). การวิเคราะห์งานวรรณกรรมเรื่องนอกเหตุเหนือผลของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) ด้วยพื้นฐานการตีความ An Analysis of the Literary Work on Nok-Het-Nuea-Phon of Pra Bodhiñanathera (Chah Subhaddo) with the Basis of Interpretation วารสารศิลปะและวัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำมูล ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม -มิถุนายน) หน้า 49-57.. (อ่านบทความ)
1. ทัศนียา นิลฤทธิ์, วิจิตรา โพธิสาร, พีรวัส อินทวี, ศิรินทิพย์ พิศวง, นวัฒกร โพธิสาร. (2565). การออกแบบลวดลายผ้าไหมทอมือจากอัตลักษณ์ท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์สู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน. วารสารวิชาการศิลปวัฒนธรรมอีสาน, 3(1) มกราคม – มิถุนายน 2565 : 1 – 19. (อ่านบทความ)